- This event has passed.
กระทรวงมหาดไทย เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 8 ก.ย. -15 ก.ย. 2565 รวม 25 อัตรา,
8 กันยายน 2022 - 15 กันยายน 2022
กระทรวงมหาดไทย เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 8 ก.ย. -15 ก.ย. 2565 รวม 25 อัตรา,
กระทรวงมหาดไทย
ลิงค์: https://ehenx.com/17487/ หรือ
ตำแหน่ง: พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน,พนักงานทรัพยากรบุคคล,พนักงานวิชาการเงินและบัญชี,พนักงานประจำสำนักงาน
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,800-18,000
อัตราว่าง: 25
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 8 ก.ย. – 15 ก.ย. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กระทรวงมหาดไทย เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
ด้วยสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภททั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราขการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและ คุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
อัตราว่าง : 12 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
พนักงานทรัพยากรบุคคล
อัตราว่าง : 6 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
พนักงานวิชาการเงินและบัญชี
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
พนักงานประจำสำนักงาน
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15800- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.
พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ที่ ก.พ. รับรอง
พนักงานทรัพยากรบุคคล
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ที่ ก.พ. รับรอง
พนักงานวิชาการเงินและบัญชี
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได็ในระดับเดียวกันที่ ก.พ. รับรอง ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
พนักงานประจำสำนักงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ที, ก.พ. รับรอง
พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑.๑ ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และ สังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรุปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของ ส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง
(๒) รวบรวมข้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ ส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหนดแผนการปฏิบัติงานหรือ โครงการให้สามารถบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
(๓) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือ กิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ รวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและประเด็นปัญหา ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงาน หรือ กำหนดยุทธศาสตร์
(๕) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาล เพื่อประกอบการ เสนอแนะแนวทางการประสานผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผลให้สอดคล้อง ไปในแนวทางเดียวกัน
๑.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธิ๋ที่กำหนด
๑.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมถุทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย๑.๔ ด้านการบริการ
(๑) รวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนงานโครงการ
(๒) ชี้แจงคำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานนโยบายและแผน เพื่อแกไขปัญหาในการปฏิบัติงาน
พนักงานทรัพยากรบุคคล
ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่ต้อง ใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑.๑ ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ หรือของส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและ การถ่ายทอดความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนและบุคลากรภาครัฐในต่างประเทศ รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการผึเกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่ง และการวางแผน อัตรากำลังชองส่วนราชการ
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผลการ ปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ก้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๗) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๘) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
๑.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๑.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๑.๔ ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงาน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้าง ความเข้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจ ของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
พนักงานวิชาการเงินและบัญชี
ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑.๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชีของ ส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูลให้ ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็นและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใข้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ-จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ-จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำใน การปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและผึเกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการผึเกอบรมและวิธีใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ ข้อกำหนด
๑.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๑.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๑.๔ ด้านการบริหาร
(๑) ให้คำแนะนำตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่างๆที่เป็นประโยชน์ (๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบกับ พิจารณากำหนดนโยบายแผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
พนักงานประจำสำนักงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที,ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑.๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ลูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชีของ ส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูลให้ ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็นและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ-จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ-จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำใน การปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ ข้อกำหนด
๑.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๑.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๑.๔ ด้านการบริหาร
(๑) ให้คำแนะนำตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่างๆที่เป็นประโยชน์ ,
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบกับ พิจารณากำหนดนโยบายแผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๖๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย
๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๓) กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
๔) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
๕) กฎหมายว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
๖) กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
๗) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรม
๘) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
๙) ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
๑๐) ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพนักงานราชการ
๑.๓ ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๑.๕ ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที,ยั่งยืน (SDGs)
๒. วิชาความรู้และทักษะพื้นฐานในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน ประกอบด้วย (๔๐ คะแนน)
๒.๑ นโยบายรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย
๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐
๒.๓ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยและสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ และแผนปฏิบัติราชการรายปีของกระทรวงมหาดไทยและสำนักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖๕๒.๔ กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ กฎหมายว่าด้วย การบริหารเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และการจัดทำ แผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ (One Plan)
๒.๕ กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ การบริหารงานงบประมาณ และการเงินการคลัง
๒.๖ ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการ
๒.๗ ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของศูนย์ดำรงธรรม
พนักงานทรัพยากรบุคคล
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๖๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย
๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๓) กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
๔) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
๕) กฎหมายว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
๖) กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
๗) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรม
๘) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
๙) ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
๑๐) ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพนักงานราชการ
๑.๓ ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจชองสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๑.๕ ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
๒. วิชาความรู้และทักษะพื้นฐานในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย (๔๐ คะแนน)
๒.๑ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๒.๒ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
๒.๓ กฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๔ กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานจริยธรรม
๒.๕ ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
๒.๖ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานพนักงานราชการและลูกจ้างประจำ
๒.๗ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
๒.๘ ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ (PMQA)
๒.๙ ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต^
พนักงานวิชาการเงินและบัญชี
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๖๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย
๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๓) กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
๔) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
๕) กฎหมายว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
๖) กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
๗) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรม
๘) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
๙) ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
๑๐) ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพนักงานราชการ
๑.๓ ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๑.๕ ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
๒. วิชาความรู้และทักษะพื้นฐานในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานวิชาการเงินและบัญชี ประกอบด้วย (๔๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับการเงิน บัญชี และงบประมาณ
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ
๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ สอบทานข้อมูลทางการเงิน รายงานการเงินและวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน
๒.๔ ความรู้เกี่ยวกับหลักการและนโยบายการบัญชี
๒.๕ ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางบัญชีอิเล็กทรอนิกส์
๒.๖ ความรู้เกี่ยวกับการเบิกจ่ายงบประมาณผ่านระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ
๒.๗ ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
พนักงานประจำสำนักงาน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๖๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย
๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๓) กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
๔) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
๕) กฎหมายว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
๖) กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
๗) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรม
๘) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
๙) ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
๑๐) ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพนักงานราชการ
๑.๓ ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๑.๕ ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที,ยั่งยืน (SDGs)
๒. วิชาความรู้และทักษะพื้นฐานในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานประจำสำนักงาน ประกอบด้วย (๔๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้ด้านการจัดการงานเอกสาร การจดบันทึกและสรุปรายงาน การจัดทำงบประมาณ การประสานงาน และการจัดการองค์การ
๒.๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๓ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม _
๒.๔ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ แล ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๕ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้าง
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 8 ก.ย. – 15 ก.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร
ตำแหน่ง: พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน,พนักงานทรัพยากรบุคคล,พนักงานวิชาการเงินและบัญชี,พนักงานประจำสำนักงาน
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,800-18,000
อัตราว่าง: 25
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 8 ก.ย. – 15 ก.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร